简体中文
繁體中文
English
Pусский
日本語
ภาษาไทย
Tiếng Việt
Bahasa Indonesia
Español
हिन्दी
Filippiiniläinen
Français
Deutsch
Português
Türkçe
한국어
العربية
บทคัดย่อ:VPN ไม่ได้ช่วยเสมอไป! แม้หลายคนคิดว่าใช้ VPN เข้าเว็บเทรดที่ถูกแบนได้เหมือนเดิม แต่หากฝืนล็อกอินหลังวันที่ 28 มิ.ย. 2568 อาจเข้าข่ายละเมิดคำสั่ง ก.ล.ต. และเสี่ยงผิดกฎหมาย หากเกิดปัญหา เช่น เงินหาย เว็บปิด หรือถูกโกง รัฐจะไม่รับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น ใครยังลงทุนคริปโต ควรเช็กให้แน่ใจว่าใช้แพลตฟอร์มที่ได้รับอนุญาตจริง ไม่เช่นนั้นความเสี่ยงอาจสูงเกินจะรับไหว
หลายคนอาจกำลังคิดว่า “เว็บโดนบล็อกไม่เห็นเป็นไร แค่เปิด VPN ก็เข้าได้เหมือนเดิม” แต่เดี๋ยวก่อน แอดเหยี่ยวขอเบรกไว้ก่อนจะเผลอกด Login เข้าเว็บ 1000X, Bybit, CoinEx, OKX หรือแพลตฟอร์มที่โดน ก.ล.ต. สั่งปิด!
เพราะแม้ว่า VPN จะไม่ผิดกฎหมายในตัวมันเอง แต่ถ้าคุณใช้มันเพื่อ “เข้าใช้งานเว็บที่ถูกสั่งห้ามโดยตรง” แบบฝืนมาตรการของรัฐ นั่นแหละที่อาจเข้าข่ายผิดได้แบบไม่รู้ตัว!
ทำไมถึงเสี่ยง?
แปลว่าอะไร?ถ้าเกิดปัญหาใด ๆ ขึ้น เช่น แพลตฟอร์มปิดตัว ถอนเงินไม่ได้ หรือโดนโกง…คุณจะ ไม่มีสิทธิ์ฟ้องร้องหรือเรียกร้องใด ๆ จากภาครัฐได้เลย
และที่อันตรายกว่านั้นคือ…หากทางรัฐมองว่าคุณ “จงใจหลีกเลี่ยงการบล็อก” อาจมีผลทางกฎหมายตามมาแบบเต็ม ๆไม่คุ้มเสี่ยงแน่นอน
สรุปให้:
แอดเหยี่ยวเตือนจริง ๆ ไม่ได้ขู่
ใครที่ยังอยากลงทุนในคริปโต อย่าลืมเช็กชื่อเว็บเทรดให้ชัวร์ว่า “ได้รับอนุญาตจาก ก.ล.ต.” หรือยัง
ไม่อย่างนั้น เงินหายขึ้นมา ต่อให้เหยี่ยวบินตามหายังไง… ก็ช่วยไม่ได้จริง ๆ
ขอบคุณข้อมูลจาก siamblockchain
อ่านข่าวสาร Forex ทั่วโลกเพิ่มเติมคลิกเลย :https://www.wikifx.com/th/original.html?source=tso4
คุณสามารถตรวจสอบใบอนุญาตโบรกเกอร์ Forex และอ่านรีวิวข้อมูลต่าง ๆ ได้ง่าย ๆ ผ่านแอป WikiFX เพียงแค่ไปค้นหาชื่อก็เจอข้อมูล ใครที่อยากได้ความรู้ เทคนิค กลยุทธ์การเทรด หรือการวิเคราะห์แนวโน้มตลาด ก็สามารถเข้ามาอ่านได้ อีกทั้งยังมีบริการ EA VPS บนแอป WikiFX อีกด้วย แอปเดียวที่จบครบเรื่อง Forex ดาวน์โหลดฟรี โหลดเลยตอนนี้จะพลาดได้ไง!
ข้อจำกัดความรับผิดชอบ:
มุมมองในบทความนี้แสดงถึงมุมมองส่วนตัวของผู้เขียนเท่านั้นและไม่ถือเป็นคำแนะนำในการลงทุน สำหรับแพลตฟอร์มนี้ไม่รับประกันความถูกต้องครบถ้วนและทันเวลาของข้อมูลบทความ และไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียใด ๆ ที่เกิดจากการใช้ข้อมูลในบทความ
ในยุคที่มิจฉาชีพทางการเงินสวมคราบมืออาชีพ ความโลภและความหวังกลายเป็นช่องโหว่ให้คนฉลาดยังตกเป็นเหยื่อ รูปแบบหลอกลวงหลากหลาย ตั้งแต่แชร์ลูกโซ่ แพลตฟอร์มปลอม จนถึงการใช้ชื่อคนดัง การมีภูมิคุ้มกันทางการเงินและสติ คือเกราะป้องกันที่ดีที่สุด เพราะโจรมักเร่งให้ตัดสินใจก่อนคิดเสมอ
ปลายเดือนมิถุนายน 2568 นักลงทุนคริปโตถูกปล้นเงินสดกว่า 3.4 ล้านบาทกลางลานจอดรถห้างดังย่านลาดพร้าว ขณะทำธุรกรรมซื้อขายเหรียญดิจิทัลกับกลุ่มคนร้ายใช้อาวุธปืนและมีดในการก่อเหตุ ผู้เสียหายได้นัดหมายซื้อขายล่วงหน้า ก่อนถูกบุกปล้นและหลบหนีโดยรถยนต์ เจ้าหน้าที่ตำรวจเร่งสืบสวน พบมีการวางแผนล่วงหน้า เหตุการณ์นี้ชี้ให้เห็นความเสี่ยงสูงของการทำธุรกรรมนอกระบบและถือเงินสดจำนวนมากในตลาดคริปโต
Trezor เตือนผู้ใช้งานทั่วโลกถึงแคมเปญฟิชชิ่งที่แอบอ้างเป็นทีมซัพพอร์ต เพื่อหลอกขอข้อมูลสำคัญอย่าง seed phrase โดยใช้ฟอร์มติดต่อบนเว็บไซต์หลอกระบบส่งอีเมลอัตโนมัติ Trezor ย้ำว่าไม่มีนโยบายขอข้อมูลสำรองใด ๆ และระบบยังปลอดภัย ขณะเดียวกัน การโจมตีแบบ spear phishing ในวงการคริปโตยังเกิดถี่ขึ้น วิธีป้องกันคือไม่เปิดเผย seed phrase และตรวจสอบแหล่งที่มาของอีเมลทุกครั้ง.
Tether ผู้ออกเหรียญ Stablecoin เดินหน้ามาตรการปราบปรามการใช้งานสินทรัพย์ดิจิทัลในทางที่ผิด อายัดเหรียญ USDT มูลค่ากว่า 12.3 ล้านดอลลาร์ บนเครือข่าย Tron
EC Markets
TMGM
FXTM
Doo Prime
HFM
ATFX
EC Markets
TMGM
FXTM
Doo Prime
HFM
ATFX
EC Markets
TMGM
FXTM
Doo Prime
HFM
ATFX
EC Markets
TMGM
FXTM
Doo Prime
HFM
ATFX